ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ Application icon

ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ 1.3

3.6 MB / 1+ Downloads / Rating 4.1 - 9 reviews


See previous versions

ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ, developed and published by FKmicro.com, has released its latest version, 1.3, on 2016-01-18. This app falls under the Social category on the Google Play Store and has achieved over 100 installs. It currently holds an overall rating of 4.1, based on 9 reviews.

ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ APK available on this page is compatible with all Android devices that meet the required specifications (Android 2.3+). It can also be installed on PC and Mac using an Android emulator such as Bluestacks, LDPlayer, and others.

Read More

App Screenshot

App Screenshot

App Details

Package name: org.farmkaset.pookpintokao

Updated: 9 years ago

Developer Name: FKmicro.com

Category: Social

New features: Show more

App Permissions: Show more

Installation Instructions

This article outlines two straightforward methods for installing ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ on PC Windows and Mac.

Using BlueStacks

  1. Download the APK/XAPK file from this page.
  2. Install BlueStacks by visiting http://bluestacks.com.
  3. Open the APK/XAPK file by double-clicking it. This action will launch BlueStacks and begin the application's installation. If the APK file does not automatically open with BlueStacks, right-click on it and select 'Open with...', then navigate to BlueStacks. Alternatively, you can drag-and-drop the APK file onto the BlueStacks home screen.
  4. Wait a few seconds for the installation to complete. Once done, the installed app will appear on the BlueStacks home screen. Click its icon to start using the application.

Using LDPlayer

  1. Download and install LDPlayer from https://www.ldplayer.net.
  2. Drag the APK/XAPK file directly into LDPlayer.

If you have any questions, please don't hesitate to contact us.

App Rating

4.1
Total 9 reviews

Previous Versions

ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ 1.3
2016-01-18 / 3.6 MB / Android 2.3+

About this app

ผูกปิ่นโตข้าว อำนาจเจริญ

โดยชาวนาจังหวัดอำนาจเจริญ และได้รับการสนับสนุนโดย พาณิชย์จังหวัดอำนาจเจริญ

แอพฯนี้ อยากเชิญชวนให้คนไทยทั้งประเทศ มาเป็นเจ้าสาว ผูกปิ่นโตข้าว เพื่อช่วยเหลือชาวนา สำหรับดูข้อมูลข่าวสาร และอัพเดทข้อมูลขึ้นบนชุมชนผูกปิ่นโตข้าว

โครงการนี้เกิดมาจากที่เราได้แรงบันดาลใจจากโรงเรียนปัญโญทัย

โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนทางเลือกแนวมนุษยปรัชญาค่ะ ไปในแนวธรรมชาติทั้งร่างกายและจิตใจ ก่อนปีใหม่ของทุกปี เด็กๆ จะมาร่วมกันแสดงดนตรีไทย เครื่องสายฝรั่ง และร้องเพลงที่สนามหญ้าในโรงเรียน ถือเป็นการฉลองปีใหม่ร่วมกันแบบเรียบง่าย พ่อแม่นอกจากดูไปด้วยความชื่นใจก็จะได้ร่วมสมทบทุนไปด้วย เพราะเป็นการแสดงเปิดหมวก (หมวกใหญ่มาก เป็นกล่องเชลโล่เลย)

เมื่อวันงานปีใหม่ที่แล้ว หมอพร (ผู้อำนวยการโรงเรียน) เล่าให้ฟังว่า ปีก่อน โรงเรียนได้ทุนจากดนตรีเปิดหมวกมา 3 หมื่นกว่าบาท จึงเอาเงินจำนวนนี้ไปเป็นทุนทำนาที่จังหวัดบุรีรัมย์ คือมีที่นาร้างอยู่ผืนนึงที่คุณแม่ท่านนึงให้ไปใช้ประโยชน์ได้ โรงเรียนจ้างให้ชาวนาครอบครัวหนึ่งใช้ที่แปลงนี้ปลูกข้าวแบบไบโอไดนามิค (Biodynamic เกษตรชีวพลวัตร ค้นพบโดยรูดอล์ฟ สไตเนอร์ เมื่อปี 1924 ซึ่งเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับปรัชญาของโรงเรียน) ซึ่งมีคุณครูจอน ผู้เชี่ยวชาญเรื่องนี้ดูแลให้อีกที

ความตั้งใจของโรงเรียนคือ ให้เด็กๆ ได้มีที่นาไปปลูกข้าว เพราะเด็กโรงเรียนนี้ต้องไปเข้าค่ายเรียนรู้การปลูกข้าวกันช่วงป.3 ป.4 ทุกคน และอีกอย่าง ครอบครัวของชุมชนโรงเรียนก็จะได้ทานข้าวที่ปลอดภัย มีพลังชีวิตมาก และภูมิใจกับข้าวที่ปลูกด้วยมือลูกหลานของเราเอง (ซึ่งจะหวานกว่าปกติ)

ผลผลิตที่ได้ ทางโรงเรียนก็รับซื้อจากชาวนาครอบครัวนี้มาทั้งหมด เอามาขายที่สหกรณ์โรงเรียน ขายหมดเกลี้ยงภายในเวลาอันรวดเร็ว ไม่พอขาย ต้องขอจำกัดให้ครอบครัวละ 1 กิโลเท่านั้น เพราะได้ออกมาไม่มาก ทานแล้วทุกบ้านพูดเป็นเสียงเดียวกันว่ามันอร่อยมาก หอมมาก นุ่มมาก

ในวันงานปีใหม่วันนั้น หมอพรบอกว่า ในละแวกที่นาแถวนั้น มีครอบครัวนี้ครอบครัวเดียวที่ได้เงินจากการขายข้าว นอกนั้น ไม่มีใครได้เงินเลย เพราะเอาไปเข้าโครงการจำนำข้าวหมด… ฟังแล้วดีใจแทนครอบครัวของเขา และขณะเดียวกันก็เศร้าใจกับชาวนาคนอื่นๆ อีกมากมาย

สิ่งที่โรงเรียนทำ มันทำให้เราเห็นความเป็นไปได้อะไรหลายอย่าง ที่มันจะทำให้คุณภาพชีวิตของชาวนาในบ้านเราแตกต่างไป

มันจะเป็นอย่างไรคะ ถ้าเราจับคู่ ระหว่างครอบครัวคนในเมืองกับครอบครัวชาวนา หรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นการ “ผูกปิ่นโตข้าว”

แล้วเราขอให้เขาปลูกข้าวอินทรีย์หรือข้าวปลอดสาร แล้วเราสัญญาว่าเราจะรับซื้อทั้งหมด เอามาแบ่งกันกินในครอบครัว ในก๊วนแก๊งค์เพื่อนเรา เราและเขาจะสามารถพลิกคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ ได้มากมายเลยทีเดียว

รายได้ – ชาวนารู้แน่ๆ ว่าขายข้าวได้ และน่าจะได้ราคาดีกว่าขายให้โรงสี เพราะถ้าเราพร้อมที่จะสนับสนุนเขา เราจะไม่กดราคาเขาเด็ดขาด แต่เราจะให้เขาได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย เพราะยังไงเราก็ซื้อราคานี้จากตลาดหรือจากห้างอยู่แล้ว

ลดต้นทุน – การใช้สารธรรมชาติกำจัดศัตรูพืชและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ สามารถลดต้นทุนในการทำนาได้มากมาย ตัดวงจร “ขายข้าวได้เงินแล้วต้องเอามาซื้อปุ๋ยซื้อยาแพง” ไปได้ ชาวนาพึ่งพาตัวเองได้ วงจรการกู้หนี้ยืมสินสามารถหมดไปได้

คุณภาพชีวิต – เมื่อเขาได้เปิดให้ตัวเองปลูกข้าวแบบอินทรีย์ หรืออย่างน้อยก็แบบปลอดสาร ใช้สารธรรมชาติในการกำจัดศัตรูพืช จะทำให้คุณภาพชีวิตของเขาดีขึ้น สุขภาพดีขึ้น ปลอดภัย ห่างไกลสารเคมีทั้งครอบครัว เราเองก็ได้กินข้าวที่แน่ใจได้ว่าปลอดภัยด้วย

ลดช่องว่างระหว่างคนเมืองและคนชนบท – เมื่อเราผูกปิ่นโตกับเขา เราจะไม่ได้เป็นแค่คนรับซื้อข้าวของเขาเท่านั้น แต่มันเหมือนกับการที่เรารับเขาเข้ามาในชีวิตเราด้วย เราอาจจะอยากไปเยี่ยมเขา ไปปลูกข้าวเกี่ยวข้าวกับเขา ไปกางเต๊นท์นอนในนาบ้าง พาลูกๆ ไปดำนา หรือรวมรุ่นชวนกันไป “ลงแขกเกี่ยวข้าว” เหมือนที่เคยมีในอดีต (อันนี้กิจกรรมมากน้อยอยู่ที่แต่ละคนจะวางแผนนะคะ) เราจะได้พูดคุยแลกเปลี่ยนกัน มุมมองอะไรที่คนเมืองอย่างเราหลงลืมไปแล้ว เราอาจจะได้กลับมาจากการอยู่กับเขา และสิ่งไหนที่เขาคนชนบทไม่เคยรู้มาก่อน เขาอาจจะได้รู้จากเรา เราไม่ได้ไปในฐานะที่เรารู้ดีกว่าหรือเราฉลาดกว่า แต่เราไปในฐานะเพื่อนที่เรียนรู้กันและกัน

New features

- Performance Tuning
- Minor update

App Permissions

Allows applications to open network sockets.
Allows applications to access information about networks.
Allows an application to write to external storage.
Allows an app to access approximate location.
Allows an app to access precise location.
Required to be able to access the camera device.
Allows applications to access information about Wi-Fi networks.
Allows access to the list of accounts in the Accounts Service.
Allows an application to read from external storage.