AREyeCU Application icon

AREyeCU 1.3

1 MB / 0+ Downloads / Rating 5.0 - 1 reviews


See previous versions

AREyeCU, developed and published by Chulalongkorn University, has released its latest version, 1.3, on 2023-10-12. This app falls under the Education category on the Google Play Store and has achieved over 1 installs. It currently holds an overall rating of 5.0, based on 1 reviews.

AREyeCU APK available on this page is compatible with all Android devices that meet the required specifications (Android 2.3+). It can also be installed on PC and Mac using an Android emulator such as Bluestacks, LDPlayer, and others.

Read More

App Screenshot

App Screenshot

App Details

Package name: com.AREyeCU.LNR

Updated: 1 year ago

Developer Name: Chulalongkorn University

Category: Education

Installation Instructions

This article outlines two straightforward methods for installing AREyeCU on PC Windows and Mac.

Using BlueStacks

  1. Download the APK/XAPK file from this page.
  2. Install BlueStacks by visiting http://bluestacks.com.
  3. Open the APK/XAPK file by double-clicking it. This action will launch BlueStacks and begin the application's installation. If the APK file does not automatically open with BlueStacks, right-click on it and select 'Open with...', then navigate to BlueStacks. Alternatively, you can drag-and-drop the APK file onto the BlueStacks home screen.
  4. Wait a few seconds for the installation to complete. Once done, the installed app will appear on the BlueStacks home screen. Click its icon to start using the application.

Using LDPlayer

  1. Download and install LDPlayer from https://www.ldplayer.net.
  2. Drag the APK/XAPK file directly into LDPlayer.

If you have any questions, please don't hesitate to contact us.

Previous Versions

AREyeCU 1.3
2023-10-12 / 1 MB / Android 2.3+

About this app

สื่อการสอนในรูปแบบสามมิติ (Augmented Reality) จำนวน 7 เรื่อง

เรื่อง โครงสร้างลูกตา และเส้นประสาทตา
ระบบการมองเห็นเริ่มจากการรับแสงโดยโครงสร้างในลูกตา เซลล์ที่จอตาจะส่งกระแสประสาทผ่านเส้นประสาทตา (optic nerve) ต่อไปยังวิถีประสาทของระบบการมองเห็น (visual pathway) โครงสร้างภายในลูกตามีขนาดเล้กและมีความซับซ้อน ยากในการทำความเข้าใจด้วยการดูเพียงภาพกายวิภาคในรูปแบบ 2 มิติ

เรื่อง วิถีประสาทของระบบการมองเห็น
ระบบการมองเห็นเริ่มจากการรับแสงโดยโครงสร้างในลูกตา เซลล์ที่จอตาจะส่งกระแสประสาทผ่านเส้นประสาทตา ต่อไปยังวิถีประสาทของระบบการมองเห็น ผ่านโครงสร้างที่ซับซ้อนในสมองหลายส่วน เพื่อไปแปลผลยังสมอง occipital lobe นอกจากนี้สมองส่วน occipital lobe ยังแบ่งเป็นหลายส่วน เพื่อรับผิดชอบต่อการมองเห็นภาพในตำแหน่งต่างกัน การแสดงผลในรูปแบบสามมิติ จะทำให้เข้าใจกายวิภาคของระบบการมองเห็นได้ง่าย และลึกซึ้งมากขึ้น

เรื่อง สมองส่วน occipital lobe โครงสร้างของลูกตา วิถีประสาทและหน้าที่การแปรผลการมองเห็นลานสายตาในคนปกติ
ระบบการมองเห็นเริ่มจากการรับแสงโดยเซลล์ที่จอตา ส่งกระแสประสาทผ่านเส้นประสาทตา ต่อไปยังวิถีประสาทของระบบการมองเห็นเพื่อไปแปลผลยังสมองส่วน occipital lobe โครงสร้างในวิถีประสาทของระบบการมองเห็นในแต่ละส่วนมีหน้าที่ในการรับผิดชอบการมองเห็นลานสายตาในลักษณะที่จำเพาะการแสดงเส้นใยประสาทที่ส่งจากจอตาในตำแหน่งที่จำเพาะด้วยสีต่างๆ ในรูปแบบสามมิติจะช่วยให้สามารถทำความเข้าใจได้ถูกต้อง และง่ายขึ้น

เรื่อง วิถีประสาทของระบบการมองเห็น และความผิดปกติของลานสายตา
ระบบการมองเห็นเริ่มจากการรับแสงโดยเซลล์ที่จอตา ส่งกระแสประสาทผ่านเส้นประสาทตา ต่อไปยังวิถีประสาทของระบบการมองเห็นเพื่อไปแปลยังสมองส่วน occipital lobe โครงสร้างในวิถีประสาทของระบบการมองเห็น ในแต่ละส่วนมีหน้าในการรับผิดชอบการมองเห็นลานสายตาในลักษณะที่จำเพาะ การแสดงภาพลานสายตาผิดปกติในแบบต่างๆ โดยจับคู่กับตำแหน่งรอยโรคในวิถีประสาทที่จำเพาะในรูปแบบสามมิติ จะช่วยให้สามารถทำความเข้าใจความผิดปกติของการมองเห็นของผู้ป่วยได้ง่ายและลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น

เรื่อง โครงสร้างลูกตาและกล้ามเนื้อตา
ระบบการมองเห็นเริ่มจากการรับแสงโดยโครงสร้างในลูกตา เซลล์ที่จอตาจะส่งกระแสประสาทผ่านเส้นประสาทตา ต่อไปยังวิถีประสาทของระบบการมองเห็น (Visual pathway)

เรื่อง การหักเหของแสงและภาวะสายตาผิดปกติ
ระบบการมองเห็นเริ่มจากการรับแสงโดยโครงสร้างในลูกตา เซลล์ที่จอตาจะส่งกระแสประสาทผ่านเส้นประสาทตา ต่อไปยังวิถีประสาทของระบบการมองเห็นซึ่งแสงหักเหและตกลงที่จอประสาทตาได้พอดี จึงจะมองเห็นได้ชัดเจน หากแสงตกลงก่อนหรือหลังดวงตาก็จะเกิดภาวะสายตาผิดปกติ

เรื่อง โครงสร้างของกระดูกเบ้าตา เส้นประสาทและเส้นเลือด
กระดูกเบ้าตามีความซับซ้อน และเข้าใจได้ยากแต่การทำความเข้าใจและรู้ถึงลักษณะทางกายวิภาคโดยละเอียดจะทำให้เข้าใจลักษณะอาการแสดงเมื่อเกิดโรคต่างๆได้ดีขึ้น